- ลักษณะภูมิประเทศของกัมพูชา: มีลักษณะคล้ายชามหรืออ่าง ซึ่งตอนกลางเป็นแอ่งและที่ราบลุ่ม โดยมีช่องระบายน้ำทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคตะวันตกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก มีเทือกเขาล้อมรอบที่ราบลุ่มตอนกลาง จึงทำให้อาณาจักรตอนกลางของประเทศ มีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ และเป็นที่อยู่อาศัยของประชากรประมาณร้อยละ 90 ของพลเมืองกัมพูชา และประเทศกัมพูชามีแม่นำ้สายสำคัญ มีชื่อว่า "แม่นำ้โขง"
- ลักษณะภูมิอากาศ: ภูมิอากาศของกัมพูชาอยู่ภายใต้อิทธิพลลมมรสุมประจำปี มีลักษณะร้อนชื้นและมีฤดูฝนยาวนาน มีอุณหภูมิเฉลี่ย 20-36 องศาเซลเซียส
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะประชากร
- จำนวนประชากร
ปัจจุบัน ประเทศกัมพูชามีประชากร 14.4 ล้านคน มีคนหลายเชื้อชาติ แยกออกได้เป็น
เชื้อชาติกัมพูชา ร้อยละ 96 มุสลิม ร้อยละ 2.2 เวียดนาม ร้อยละ 0.49 จีน ร้อยละ 0.2
ที่เหลือเป็นชนกลุ่มน้อยหรือชาวเขา รวม 17 เผ่า
- ศาสนา
มีผู้นับถือศาสนาพุทธเถรวาท ร้อยละ 95 นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 3
นับถือศาสนาคริสต์ ร้อยละ 1.7 นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ร้อยละ 0.3
- อาชีพหลักของประชากร
อาชีพหลักของชาวกัมพูชา คือ
-ภาคเกษตรกรรม
-ภาคเกษตรกรรม
-ภาคบริการประมาณร้อยละ
- ภาคอุตสาหกรรมโรงงานประมาณร้อยละ 8
- ภาคอุตสาหกรรมโรงงานประมาณร้อยละ 8
-ภาคการก่อสร้างประมาณร้อยละ 5
**ชาวกัมพูชาประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก**
ข้อมูลเศรษฐกิจ
- สถานภาพทั่วไปทางด้านเศรษฐกิจ
- รายได้ประชากรต่อหัว
- สินค้าเกษตร
- ป่าไม้
- อุตสาหกรรมหลักในประเทศ
- สินค้านำเข้า ส่งออกอะไรเป็นหลัก
เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยางพารา ข้าว ไม้แปรรูป เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ปลา
-สินค้านำเข้า
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสิ่งทอ น้ำมันเชื้อเพลิง วัสดุก่อสร้าง รถยนต์และจักรยานยนต์ อาหารและเครื่องดื่ม
- ทรัพยากรที่สำคัญ
- เมืองสำคัญด้านเศรษฐกิจ
-สีหนุวิลล์
-กำปงจาม
ข้อมูลการเมืองการปกครอง
- ระบอบการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
- กษัตริย์องค์ปัจจุบัน
- นายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน
- เขตการปกครอง
มีการกระจายอำนาจแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20 จังหวัด และ 4 เทศบาล
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
ประชาชนมีความเชื่อตาม
ชาวเขมรโบราณที่มีความเชื่อในอำนาจเร้นลับที่มีอยู่กับธรรมชาติ เมื่อชาวบ้านมีปฏิสัมพันธ์กับชาวต่างถิ่นก็อาจได้รับอิทธิพล
จากความเชื่ออื่นๆ เพิ่มขึ้น โดยไม่จำ เป็นต้องละทิ้งความเชื่อดั้งเดิม
ซึ่งในเงื่อนไขของเวลาและสถานที่ต่างกัน ชาวกัมพูชาได้รับเอาความเชื่อ
ทางศาสนาและลัทธิต่างแดนมากมายที่สำคัญ คือ ศาสนาพุทธ ศาสนา
อิสลาม ลัทธิขงจื้อ และลัทธิเต๋า
ประเพณีปฏิบัติต่างๆ ของประชาชนชาวกัมพูชาสอดคล้องใกล้เคียงกับไทยเป็นอย่างมาก
โดยผู้สูงอายุจะเข้าวัดฟังธรรมเมื่อมีงานบุญตามประเพณี ประชาชนหนุ่มสาว และเด็กจะร่วมแรงช่วยเหลือจัดการงานอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ จะมีงาน บุญประเพณีที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาตามจันทรคติเช่นเดียวกับไทย เป็นวันหยุดราชการ ได้แก่ วันมาฆบูชา วันปีใหม่เขมร ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ วันวิสาบูชา วันสาร์ทเขมร เป็นต้น
หากจะกล่าวโดยภาพรวมแล้ว ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และ ประเพณีของกัมพูชาและไทยจะใกล้เคียงกันในทุกเรื่อง รวมทั้งภาษา ถ้อยคำ พยัญชนะ สระ ตัวอักษร คำศัพท์ต่างๆ ซึ่งที่ผ่านมาได้ถูกหยิบ ยืมแลกเปลี่ยนใช้สืบเนื่องกันมา
- ประเพณีปฏิบัติต่างๆ
ประเพณีปฏิบัติต่างๆ ของประชาชนชาวกัมพูชาสอดคล้องใกล้เคียงกับไทยเป็นอย่างมาก
โดยผู้สูงอายุจะเข้าวัดฟังธรรมเมื่อมีงานบุญตามประเพณี ประชาชนหนุ่มสาว และเด็กจะร่วมแรงช่วยเหลือจัดการงานอย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้ จะมีงาน บุญประเพณีที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาตามจันทรคติเช่นเดียวกับไทย เป็นวันหยุดราชการ ได้แก่ วันมาฆบูชา วันปีใหม่เขมร ซึ่งตรงกับวันสงกรานต์ วันวิสาบูชา วันสาร์ทเขมร เป็นต้น
หากจะกล่าวโดยภาพรวมแล้ว ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และ ประเพณีของกัมพูชาและไทยจะใกล้เคียงกันในทุกเรื่อง รวมทั้งภาษา ถ้อยคำ พยัญชนะ สระ ตัวอักษร คำศัพท์ต่างๆ ซึ่งที่ผ่านมาได้ถูกหยิบ ยืมแลกเปลี่ยนใช้สืบเนื่องกันมา
โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
- การคมนาคมทางบก
1. ด่านบาเว็ท
2.ด่านปอยเปต
3.ด่านจำเยียม
1.เส้นทางหมายเลข 1 กรุงพนมเปญ–บาเว็ท (ชายแดนเวียดนาม)
2.เส้นทางหมายเลข 4 กรุงพนมเปญ จังหวัดพระสีหนุ (กัมปงโสม)
3. เส้นทางหมายเลข 5 กรุงพนมเปญ–ปอยเปต
4. เส้นทางหมายเลข 6 เสียมราฐ–ศรีโสภณ
- การคมนาคมโดยทางรถไฟ
เส้นทางรถไฟที่สำคัญ 2 สาย
1. กรุงพนมเปญ-ศรีโสภณ
2.กรุงพนมเปญ-กำ ปงโสม
2.สนามบินนานาชาติเสียมราฐ
1.ท่าเรือนานาชาติสีหนุวิลล์
2.ท่าเรือนานาชาติพนมเปญ
3.ท่าเรือออกญามอง
มีระบบไฟฟ้าและประปาที่ได้มาตรฐานในการใช้อุปโภคทั่วไปและการใช้ในอุตสาหกรรม
ระบบสาธารณสุข
- ระบบสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2536
รัฐบาลกัมพูชาก็ได้จัดตั้งกระทรวงสาธารณสุข (MOH)
มีพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมประชากร 100,000 ถึง 200,000คน
1. หน่วยปฎิบัติการประจำตำบล (Operational District – OD)
เป็นสถานการแพทย์ของกัมพูชาให้บริการ 77 จังหวัด
2. โรงพยาบาลชุมชน (Referral Hospital)
ทำหน้าที่ให้บริการ 74 จังหวัด ดูแลคนประมาณ 100,000-200,000 คน
3. ศูนย์อนามัย (Health Center)
ทำหน้าที่ดูแลคน 8,000-12,000 คน มี 957 แห่ง
4. สถานีอนามัย (Health Post)
มีจำนวน 95 แห่งทั่วประเทศ ระบบการศึกษา
- ระบบการศึกษาของประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน
ระบบการศึกษาของประเทศกัมพูชา ประกอบด้วย การศึกษาในระดับชั้นอนุบาลถึงการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย
และในปัจจุบันจะมีการสอบมาตรฐานเพื่อรับใบประกาศนียบัตรที่เรียกว่า “Bac Dup” ซึ่งได้นำ มาใช้เป็นระบบกลางในการเข้าศึกษาต่อ ในมหาวิทยาลัย
นอกจากนี้ยังมีการศึกษานอกระบบสำหรับผู้ใหญ่ ซึ่งเน้นการเรียนการสอนเพื่อให้อ่านออกเขียนได้
- แนวทางพัฒนาการศึกษาของกัมพูชา
1) การเข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพิ่มสูงขึ้นเป็น 3.8 ล้านคน
2) การเพิ่มชั่วโมงการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา
3) การเพิ่มห้องเรียนและสถานที่เรียนในพื้นที่ขาดแคลน
4) การเพิ่มปริมาณและคุณภาพครูและการฝึกหัดครู โดยเน้นสำหรับระดับมัธยมศึกษามากขึ้นปีละประมาณ 10,000 คน ด้วยอัตราเงินเดือนเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี
ระบบกฏหมาย
- ปัจจุบัน
ใช้ระบบกฎหมายของกัมพูชา กฎหมายแพ่งมีลักษณะ
ผสมผสานกับข้อปฏิบัติที่ได้รับอิทธิพลจากฝรั่งเศสที่ได้
ณ ปัจจุบัน ระบบศาลของประเทศกัมพูชาประกอบไปด้วย
ศาลฎีกา (Supreme Court)
ศาลอุทธรณ์ (Appellate Court)
ศาลจังหวัด (Provincial/Municipal Courts)
ศาลทหาร (Military Court)
ศาล ที่มีชื่อว่า “Extraordinary Chambers in the Courts of Cambodia (ECCC)”
- ศาลฎีกา
จะพิจารณาข้อกฎหมายในคดีที่คู่ความฎีกาขึ้นมาจาก ศาลอุทธรณ์
- ศาลอุทธรณ์
จะพิจารณาคดีความทั้ง ในข้อกฎหมายและข้อเท็จจริง
- ศาลชั้นต้น
จะพิจารณาคดีที่เป็นความผิดทางทหารเท่านั้น ประกอบด้วย
ศาลจังหวัด (Provincial Court)
ศาลทหาร (Military Court)
- สภารัฐธรรมนูญ (Constitutional Council)
มีหน้าที่สนับสนุนให้ประชาชน
เคารพสิทธิในรัฐธรรมนูญ ตีความรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่นๆที่ผ่าน
- สภาสูงแห่งผู้มีอำนาจทางการปกครอง (Supreme Council of Magistracy – SCM)
เป็นหน่วยงานที่นำเสนอเรื่องทูลเกล้าฯพระมหากษัตริย์เพื่อที่จะแต่งตั้ง
โยกย้าย ปลด หรือเลื่อนตำแหน่งแก่ข้าราชการตุลาการในทุกชั้นศาล
และลงโทษทางวินัยแก่ตุลาการที่กระทำความผิด
ความสำคัญระหว่างประเทศไทยกับกัมพูชา
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับกัมพูชาตั้งแต่
19 ธันวาคม พ.ศ.2493
ทั้งสองประเทศนี้มีความคล้ายคลึงกันมากมายทั้ง
ประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม หรือ แม้กระทั่ง
."การดำรงชีวิต".
ประเทศไทยและกัมพูชาร่วมมือในการทำงานหลายด้าน
ทั้ง การท่องเที่ยว สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา
ประตูชัยอรัญประเทศไทย-กัมพูชา
ข้อมูลทั่วไป
- ชื่อประเทศอย่างเป็นทางการ: ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
- เมืองหลวง: พนมเปญ
- พื้นที่:181.035 ตารางกิโลเมตร
- เขตแดน: ทิศเหนือติดกับสปป.ลาวและไทย ทิศใต้ติดกับเวียดนามและอ่าวไทย ทิศตะวันตกติด กับไทย ทิศตะวันออกติดกับเวียดนาม
- ประชากร: 14.4 ล้านคน (2012)
- วันชาติ: 9 พฤศจิกายน
- ภาษาในราชการ: เขมร
- ระบบการปกครอง: ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้ รัฐธรรมนูญ
- ธงชาติ:
มีรูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาว
อยู่ตรงกลางริ้วที่อยู่ด้านนอกทั้ง สองด้านนั้นกว้าง
ริ้วละ 1 ส่วน พื้นสีนำเงินความหมายของสัญลักษณ์
ในธงนั้นสะท้อนถึง 3 สถาบันหลักของประเทศ
ดังปรากฏในคำขวัญประจำชาติว่า
“ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์”
-พื้นสีแดง หมายถึง ชาติ ปราสาทนครวัด -สีขาว หมายถึง สันติภาพ และศาสนา ซึ่งเดิมเป็นศาสนา พราหมณ์-ฮินดู และได้เปลี่ยนแปลงมาเป็น พระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
-สีนำเงิน หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์
- ตราแผ่นดิน:
เป็นรูปฉลองพระองค์ครุยคลุมพานแว่นฟ้า อัญเชิญพระแสงขรรค์และเครื่องหมายอุณาโลมภายใต้พระมหามงกุฎเปล่งรัศมี มีลายช่อต่อออกมาจากกรรเจียกจรทั้งสองข้าง
- สกุลเงินตรา: เรียล (Riel หรือ CR)
- อัตราแลกเปลี่ยน: 4,145 เรียล (KHR) ต่อ 1 ดอลล่าร์สหรัฐ
- ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ:(GDP) 15.64 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
- รายได้ประชาชาติต่อหัว:(GDP per Capita) 911.73 ดอลลาร์สหรัฐ
วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ภาระงาน
ข้อมูลประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
น.ส. กชกร หลอมทอง เลขที่ 19
-ลักษณะประชากร
-ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
-ระบบการศึกษา
น.ส.ภัคมันต์ญา น่วมบัว เลขที่ 20
-ระบบสาธารณสุข
-ระบบกฎหมาย
-ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
น.ส.ออม ศรีฟอง เลขที่ 21
-ข้อมูลเศรษฐกิจ
-ข้อมูลการเมืองการปกครอง
-โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
น.ส.อาจรีย์ เกิดกัน เลขที่ 22
-ข้อมูลทั่วไป
-ลักษณะทางภูมิศาสตร์
-ประวัติศาสตร์
น.ส. กชกร หลอมทอง เลขที่ 19
-ลักษณะประชากร
-ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
-ระบบการศึกษา
น.ส.ภัคมันต์ญา น่วมบัว เลขที่ 20
-ระบบสาธารณสุข
-ระบบกฎหมาย
-ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับประเทศราชอาณาจักรกัมพูชา
-ข้อมูลเศรษฐกิจ
-ข้อมูลการเมืองการปกครอง
-โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค
น.ส.อาจรีย์ เกิดกัน เลขที่ 22
-ข้อมูลทั่วไป
-ลักษณะทางภูมิศาสตร์
-ประวัติศาสตร์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)